มโหรีเป็นลักษณะการประกอบวงดนตรี
ประเภทหนึ่งของชาวไทยสยาม ปรากฏตาม
หลักฐานทางประวัติศาสตร์โบราณคดี
และวรรณกรรม อย่างน้อยก็ตั้งแต่สมัย
กรุงศรีอยุธยาเป็นต้นมา มีการเคลื่อนไหว
พัฒนาทางรูปแบบและวิธีการบรรเลง
มาจนกระทั่งปัจจุบัน

 
หน้าแรก
     ประเภท
         ขนาด
เครื่องดนตรี
 
 
 
 

ที่มา : วงมโหรี  http://pck24-09.weebly.com/3623359136173650362736193637.html

  ๑. วงมโหรีเครื่องเล็ก
เครื่องดนตรีในวงบรรเลงประกอบด้วย
๑.ซอสามสาย, ๒.ซอด้วง,๓.ซออู้, ๔.จะเข้, ๕.ขลุ่ยเพียงออ, ๖.ระนาดเอกมโหรีฒ ๗.ฆ้องกลาง, ๘.โทน- รำมะนา, ๙.ฉิ่ง
 
 
ที่มา : วงมโหรีเครื่องเล็ก  https://www.google.co.th/search?tbm=isch&tbs=rimg%3ACbQIYB4h6fvgIjgG8cbpBmqE8SB
 

๒. วงมโหรีเครื่องคู่
เครื่องดนตรีในวงบรรเลงประกอบด้วย
๑.ซอสามสาย, ๒.ซอสามสายหลิบ, ๓.ซอด้วง ๒ คัน, ๔.ซออู้ ๒ คัน, ๕.จะเข้ ๒ ตัว, ๖.ขลุ่ยเพียงออ, ๗.ขลุ่ยหลิบ, ๘.ระนาดเอกมโหรี, ๙.ระนาดทุ้มไม้มโหรี, ๑๐.ฆ้องกลาง, ๑๑.ฆ้องวงเล็กมโหรี, ๑๒.โทน- รำมะนา, ๑๓.ฉิ่ง, ๑๔. ฉาบเล็ก

 
 
ที่มา : วงมโหรีเครื่องเล็ก  https://www.google.co.th/search?tbm=isch&tbs=rimg%3ACbQIYB4h6fvgIjgG8cbpBmqE8SB
 

๓. วงมโหรีเครื่องใหญ่
เครื่องดนตรีในวงบรรเลง ประกอบด้วย
๑.ซอสามสาย, ๒.ซอสามสายหลิบ, ๓.ซอด้วง ๒ คัน, ๔.ซออู้ ๒ คัน, ๕.จะเข้ ๒ ตัว, ๖.ขลุ่ยเพียงออ, ๗.ขลุ่ยหลิบ, ๘.ระนาดเอกมโหรี, ๙.ระนาดทุ้มไม้มโหรี, ๑๐.ระนาดเอกเหล็กมโหรี, ๑๑.ระนาดทุ้มเหล็กมโหรี, ๑๒.ฆ้องกลาง, ๑๓.ฆ้องวงเล็กมโหรี, ๑๔.โทน- รำมะนา, ๑๕.ฉิ่ง, ๑๖.ฉาบเล็ก, ๑๗.โหม่ง

 
ที่มา : วงมโหรีเครื่องเล็ก  https://www.google.co.th/search?tbm=isch&tbs=rimg%3ACbQIYB4h6fvgIjgG8cbpBmqE8SB