|
||||
หน้าแรก |
ประเภท |
ขนาด |
เครื่องดนตรี |
|
ที่มา : รังสิต จงฌานสิทโธ.2558,20 |
||||
วงมโหรี เป็น วงดนตรีไทยประเภทหนึ่งซึ่งประกอบด้วยเครื่องดนตรีผสมทั้งดีด สี ตี เป่า เป็นวงดนตรีที่ใช้บรรเลงเพื่อขับกล่อม ไม่นิยมบรรเลงในการแสดงใด ๆ วงมโหรีแบ่งเป็น ๕ ประเภท คือ | ||||
๑.วงมโหรีเครื่องสี่ เป็นวงมโหรีที่รวมเอาการบรรเลงพิณและการขับไม้ ซึ่งมีมาแต่โบราณเข้าด้วยกัน เกิดขึ้น |
||||
วงมโหรีเครื่อง ๔ |
||||
๒.วงมโหรีเครื่องหก คือ วงมโหรีเครื่องสี่ซึ่งเพิ่มเครื่องดนตรีอีก ๒อย่าง คือ รำมะนา สำหรับตีกำกับ |
||||
วงมโหรีเครื่อง ๖ |
||||
ในสมัยต่อมางมโหรีที่ได้เพิ่มเครื่องดนตรีและเปลี่ยนแปลงมาโดยลำดับตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ครั้งแรกเพิ่มระนาดเอกและฆ้องวง (ภายหลังเรียกว่า ฆ้องกลางหรือฆ้องมโหรี) ต่อมาจึงได้เพิ่มซอด้วงและซออู้ ส่วนกระจับปี่นั้นเปลี่ยนเป็นใช้จะเข้แทน เนื่องจากเวลาบรรเลงจะเข้วางราบไปกับพื้น ซึ่งต่างกับกระจับปี่ที่ต้อง ตั้งดีด ทั้งนมที่ใช้รองรับสายและบังคับเสียงของจะเข้ ก็เรียงลำดับมีระยะเหมาะสมกว่ากระจับปี่ เวลาบรรเลง จึงทำให้ใช้นิ้วดีดได้สะดวกและแคล่วคล่องกว่า นอกจากนี้จะเข้ยังสามารถทำเสียงได้ดังและทำเสียงได้ มากกว่ากระจับปี่ |
||||