ที่มา : ‘สิงโต’ สัญลักษณ์แห่งความมีโชค<กีฬาการเชิดสิงโต> http://www.thonburi-home.com/index.php?lay

การเชิดสิงโตที่นิยมแสดง มี 2 ประเภท ได้แก่
การเชิดสิงโตแบบโบราณ คือ การแสดงกายกรรมต่อตัว และ การเชิดสิงโตแบบปีนกระบอกไม้ไผ่ต่อมาจึงได้มีการ
พัฒนาขึ้นมาอีกหนึ่งประเภท ได้แก่ การเชิดสิงโตบนเสาดอกเหมย ซึ่งได้รับความนิยมอย่างมากในประเทศแถบเอเชีย
อาทิ จีน มาเลเซีย ไต้หวัน ฮ่องกง รวมทั้งประเทศไทย โดยปัจจุบันการเชิดสิงโตบนเสาดอกเหมยนี้ได้รับการบรรจุให้
ุ้เป็นกีฬาอีกชนิดหนึ่ง และได้รับการจัดไว้ในการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์อีกด้วย และในเทศกาลตรุษจีนรับปีหมูทองนี้

เกร็ดความรู้เรื่องการเชิดสิงโต
การเชิดสิงโตเป็นประเพณีของชาวจีน โดยเชื่อว่าเป็นการตัดสิ่งอัปมงคลและนำความเป็นสิริมงคลมาสู่พื้นที่ สิงโตที่เชิดนั้น แต่โบราณมีการเชิดกันตามความเชื่อ และมีลักษณะต่างกันไปตามพื้นที่ของแต่ละที่ แต่ความเป็นมาที่คล้ายกันคือเป็นรูปทรงสิงโตที่เลียนแบบจากสิงโตทางเหนือซึ่งได้รับอิทธิพลจากต่างถิ่นของประเทศจีน

สิงโตในท้องถิ่นของจีน
แต่เดิมจะมีรูปทรงและสีสันไปตามความเชื่อของแต่ละท้องถิ่น แต่ที่ถือเป็นแพร่หลายที่สุดคือสิงโตแถบมณฑลกวางตุ้ง ที่ส่วนใหญ่สังกัดสำนักกังฟูและต่อมาก็ได้รับการเผยแพร่สู่นอกประเทศโดยสำนักกังฟูต่าง ๆแต่เดิมสิงโตแต่ละท้องถิ่นจะเชิดกันโดยอาศัยความสูงเป็นข้อบ่งชี้ความสามารถของทีมสิงโต และแสดงเนื้อเรื่องให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของเจ้าภาพที่จัดขึ้น ต่อมาได้มีกลุ่มประเทศที่อยู่ภาคพื้นเอเชีย
ได้ก่อตั้งสหพันธ์สิงโตนานาชาติขึ้น และกำหนดวิธีการแข่งขันสิงโตเป็นลักษณะสากลนิยม ด้วยการแสดงความสามารถ
 ของ เทคนิกการเชิดสิงโตบนเสาต่างระดับสิงโตได้รับการพัฒนาโดยชาวจีนโพ้นทะเล
ในแถบประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หลังจากได้วิวัฒนาการเป็นกีฬา โดยมีการแข่งขันระดับนานาชาติตั้งแต่ปี 1990
่ เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบันได้รับการบรรจุเป็นหนึ่งในกีฬาเอเชี่ยนอินดอร์เกมส์ ครั้งที่ 2 ณ เมืองมาเก๊า
เป็นครั้งแรกปัจจุบันกีฬาสิงโตได้บรรจุเป็น Event หนึ่งของกีฬาวูซู ที่แข่งขันในกีฬาแห่งชาติ

ที่มา : ‘สิงโต’ สัญลักษณ์แห่งความมีโชค http://www.thonburi-home.com/index.php?lay

ส่วนการแสดงสิงโตในเมืองไทยที่นิยมแสดงมีอยู่ 2 ชนิด

คือ ชนิดแบบโบราณ คือ การแสดงแบบกายกรรมต่อตัว และ ปีนกระบอกไม้ไผ่ ที่เรามักเห็นกันทั่วไป ซึ่งการแสดงเชิดสิงโตในประเทศจีน คณะสิงโต จะสังกัดค่ายมวย เพราะผู้แสดงต้องฝึกวิชากังฟู เนื่องจากผู้เชิดจะต้องแสดงลีลาประกอบการเคลื่อนไหวท่วงท่าของวิชามวยจีน ช่วงล่างต้องมีความแข็งแกร่ง ส่วนในเมืองไทยสิงโตไม่ได้สังกัดสำนักมวยเหมือนอย่างประเทศจีน แต่จะขึ้นอยู่กับศาลเจ้าบ้าง วัดบ้าง การฝึกสอนก็อาศัยจากรุ่นพี่สอนรุ่นน้องในปัจจุบันการเชิดสิงโตได้มีการพัฒนาขึ้นอีกประเภทหนึ่ง ได้แก่ การเชิดสิงโตบนเสาดอกเหมย ซึ่งเป็นประเภทที่ได้รับความนิยมอย่างมากในแถบเอเซีย อาทิ ประเทศจีน มาเลเซีย ไต้หวัน ฮ่องกง รวมทั้งประเทศไทยด้วย ในปัจจุบัน การแสดงเชิดสิงโตบนเสาดอกเหมยถูกปรับให้เป็นกีฬาแล้ว และถูกบรรจุในกีฬาเอเชี่ยนเกมส์และกีฬาแห่งชาติ หลังจากเป็นกีฬาสาธิตอยู่หลายปี(ประเทศจีน เมืองแห่งอารยธรรมโบราณ ตอนที่ 26 : การเชิดสิงโตตรุษจีน )
  
ที่มา : ‘สิงโต’ สัญลักษณ์แห่งความมีโชค http://www.thonburi-home.com/index.php?lay
<<< PREVIOUS      NEXT >>>