45
 
ขอบเขตของเอกสารที่เกี่ยวข้อง

         เปรียบเทียบจากเพลงกล่อมเด็กไทยมุสลิมภาคใต้ของมัลลิกา คณานุรักษ์กับเนื้อเพลงของวันเนาว์ ยูเด็นเท่านั้น

6 ข้อตกลงเบื้องต้น

         เนื่องจากเพลงกล่อมเด็กไทยมุสลิมภาคใต้เป็นภาษามลายู จึงต้องแปลเป็นภาษาไทยก่อนและในเพลงชาน้องก็มีศัพท์ภาษาใต้ จึงมีการแปลศัพท์ภาษาใต้บางคำประกอบด้วย การเปรียบเทียบเนื้อหาของเพลงในแง่ต่างๆจะเปรียบเทียบจากเนื้อเพลงที่แปลเป็นภาษาไทยเท่านั้น
6 ความแตกต่างในเรื่องฉันทลักษณ์ของเพลง
   เพลงกล่อมเด็กภาคใต้กับเพลงชาน้องมีลักษณะต่างกัน ดังนี้

          
คำแปล
                  
               นกเปล้าหางดก                       ตายคากิ่งไม้     
                                            เป่าปีสีซอ                                           แม่จะกล่อมให้นอน             
          
---------------------------------------------------------------------
         
           เพลงกล่อมเด็กมุสลิมภาคใต้ส่วนใหญ่แล้วจะมีลักษณะสัมผัสแบบนี้ นอกจากนี้อาจมีบางเพลงที่ผู้ร้องร้องจนเพี้ยน ทำให้ลักษณะสัมผัสเลือนไปก็มี และเพลงชาน้องในบางเพลงก็มีลักษณะสัมผัสที่เลือนเช่นกัน ซึ่งนับว่ามิใช่องแปลก เพราะกลอนชาวบ้านเป็นกลอนง่ายๆ อาจไม่มีสัมผัสครบทุกแห่งก็ได้
 

(มัลลิกา คณานุรักษ์,  2524:2-3)

 

 
:: งานเทคโนโลยีทางการศึกษา สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ::
 
45
s